วันพฤหัสบดีที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2554

การตั้งถิ่นฐานและภูมินิเวศ

การตั้งถิ่นฐานของมนุษย (Human settlement)  
เปนการบุกเบิกและเขาอยูอาศัยในพื้นที่ของโลก เปนกระบวนการที่ไมหยุดนิ่ง
(dynamic) เปนการปรับตัวของมนุษยเขากับสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ  สภาพแวดลอมทาง
ภูมิศาสตรและสิ่งแวดลอมทางวัฒนธรรม  การตั้งถิ่นฐานอาจเปนการตั้งถิ่นฐานช่วคราวหรือการ
ตั้งถิ่นฐานถาวร โดยการตั้งถิ่นฐานจะแตกตางกันตามความเจริญกาวหนาของแตละประเทศ การ
ประกอบอาชีพ ขนบธรรมเนียมประเพณี
สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ (2521) ไดใหความหมายของการตั้งถิ่น
ฐานวาเปนการแสดงออกซึ่งความสัมพันธระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอมในเชิงประสานเกื้อกูล                                    มีบทบาทสําคัญตอมนุษยในฐานะที่เปนจุดกําเนิด ระบบสังคม การปกครอง และวัฒนธรรม
 การตั้งถิ่นฐานจะอยูไดในการพัฒนาภายใตเงื่อนไข 4 อยางคือ
1. ตอบสนองความตองการพื้นฐานดานตางๆ ของมนุษยไดอยางเพียงพอ
2. รักษาสมดุลกับสิ่งแวดลอมและทรัพยากรตางๆ ได
3. มีความเสมอภาคทางสังคม
4. มนุษยสามารถดํารงชีวตอยูไดอยางมีศักดิ์ศรีและคุณคาความเปนมนุษย
หรืออาจหมายถึงความสัมพันธระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอมอันเนนที่กําบัง (shelter) ที่
อาศัย(habitat) ตลอดจนสิ่งอํานวยความสะดวกที่มนุษยสรางขึ้นมา รวมถึงการศึกษารูปแบบ
การกระจาย และประเภทของการตั้งถิ่นฐาน (Jone,1964) สําหรับแบรกและเวป ไดให
ความหมายวาเปนการสรางบานเรือนที่อยูอาศัยความสะดวกสบายที่คิดคนขึ้นมาเมื่อมนุษยได
ตั้งตัวอยูเปนหลักแหลง การตั้งถิ่นฐานจึงประกอบดวยมนุษยอาคารบานเรือน ถนน และแนวรั้วและยังรวมถึงบทบาทหนาที่ของแหลงตั้งถิ่นฐานที่เปนผลรวมของวัฒนธรรมทําใหมีสังคม
แตกตางไปจากสังคมอื่น (Broek และ Webb,1968 อางในฉัตรชัย,2536) หรือสตามความหมาย
ของดอกซิอาดิสไดใหความหมายของการตั้งถิ่นฐานวาการจัดรูปพื้นที่โดยมนุษยเพื่อมนุษยเพื่อ
การอยูรอดของมนุษยและยกระดับความเปนอยูใหดีขึ้น ตองอาศัยมิติของเวลาและสถานที่ ตอง
พิจารณาจากเกณฑ 5 ประการคือ มนุษยสังคม สภาพแวดลอม ที่อยูอาศัย และโครงสราง
พื้นฐาน(Doxiadis,1976 อางในฉัตรชัย,2536) และนักภูมิศาสตรชาวแคนาดาใหความหมายของ
การตั้งถิ่นฐานวาเปนสถานที่ที่มนุษยสรางขึ้นเพื่อรวมกันใชทรัพยากรที่มีอยางจํากัด พื้นที่ดัง
กลาวคือระบบนิเวศที่มีการพึ่งพาซึ่งกันและกัน เพราะความอุดมสมบูรณของแตละพื้นที่มีความ
แตกตางกัน (Dansereau,1978 อางในฉัตรชัย,2536)
ดังนั้นการตั้งถิ่นฐานมนุษย ึจงเปนการรวมกลุมของมนุษยที่ตั้งขึ้นมาเพื่อการใช
ทรัพยากรในการดํารงชีวิต มีบทบาทหนาที่ของแหลงที่ตั้งทําใหเกิดวัฒนธรรมที่มีความแตกตาง
กัน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ลักษณทางภูมิศาสตร์

ลักษณทางภูมิศาสตร์
ภูมิประเทศ